บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2015

ประวัตินามสกุล ไชยพงษ์ ไชยพงศ์ ชัยพง

รูปภาพ
ตระกูล ไชยพงศ์ ไชยพงษ์ ชัยพงศ์ คือตระกูลเดียวกันแต่อาจเขียนผิดเพี้ยนไปบ้างต้นตระกูลคือขุนอินทรพิชัย มีศักดิ์นา 400ไร่ เป็นผู้ช่วยรักษาเมืองอลอง ขึ้นกับเมืองนครศรีธรรมราช ในสมัยรัชกาลที่2( ปัจจุบันคือตำบลฉลอง อ.สิชล จ.นครศรีฯ )    ต่อมาในรัชกาลที่6 เลิกคำว่าเมืองเพราะมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองใหม่ และมีการตั้งนามสกุลแรกขึ้นมาในปี พ.ศ.2456 คือนามสกุล สุขุม เป็นนามสกุลแรกของสยาม หลังจากนั้นในปี พ.ศ.2464 จึงออกกฎหมายบังคับให้ใช้นามสกุลกันทุกคนที่เป็นคนไทย การตั้งนามสกุลสมัยนั้นใช้ชื่อพ่อ แม่ หรือชื่อพ่อแม่รวมกันหรือสร้อยนามของยศในพรรคพวก หรือสถานที่ เหตุการณ์นี้นับจากสิ้นท่านขุนอินทรพิชัยมาไม่ถึง100ปี ลูกหลานของท่านขุนฯ จึงคิดตั้งนามสกุลว่า ชัยพงศ์ แต่การเขียนนั้นเปลี่ยนแปลงไปเป็น ไชยพงศ์ ไชยพงษ์ ก็มีมาก ที่มาของคำว่า ชัยพงศ์ ไชยพงศ์ ไชยพงษ์ คือ ท่านขุนอินทรพิชัย ท่านผู้รองเมืองอลอง ตั้งบ้านอยู่ที่ บ้านห้วยหลุมพงศ์ จึงเอาคำว่า ชัย มารวมกับคำว่า พงศ์ จึงเกิดเป็น ชัยพงศ์ ไชยพงศ์ ไชยพงษ์ ดังที่ลูกหลานเหลนโหลนของท่านขุนอินทรพิชัยใช้กันอยู่ปัจจุบันนี้ จึงสรุปได้ว่านามสกุลไชยพงศ์

สถานเอกอัครราชทูตจัดงาน Thai Festival in Moscow 2015 ระหว่างวันที่ 12 -13 กันยายน 2558

รูปภาพ
เมื่อวันที่ 12 -13 กันยายน 2558 สถานเอกอัครราชทูตฯ พร้อมทีมประเทศไทยร่วมกับรัฐบาลเมืองมอสโกจัดงาน Thai Festival in Moscow 2015 ณ ถนนคนเดิน Kuznetsky Most ของรัสเซีย ใจกลาง กรุงมอสโก งานดังกล่าวประสบความสำเร็จเป็นอย่างมากและมีชาวมอสโกและนักท่องเที่ยวเข้า ร่วมงานมากกว่า 50,000 คน ในงานมีการแสดงทางวัฒนธรรม อาทิ ดนตรีไทยร่วมสมัย นาฎศิลป์ไทย มวยไทย และ การสาธิตทำอาหารไทย และการจับฉลากลุ้นของรางวัล นอกจากนี้ เอกชนไทยและรัสเซียได้ออกบู๊ทแสดงและจำหน่ายสินค้า อาหาร ผลไม้ไทย และให้บริการนวดไทยในงานด้วย งานดังกล่าวถือว่ามีส่วนสำคัญในการส่งเสริมประเทศไทยและสร้างความเชื่อมั่น ให้กับนักท่องเที่ยวรัสเซียเป็นอย่างมาก ทีมา   http://www.thaibizrussia.com/ru/news/detail.php?id=20100 เผยแพร่โดย   www.laortravel.com

24 กันยา วันมหิดล

รูปภาพ
วันรำลึก "พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย"           วันที่ 24 กันยายน เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกพระผู้ได้รับการถวายพระสมัญญาภิไธยจากแพทย์และประชาชนทั่วไปว่า "พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย" คณะแพทยศาสตร์สิริราชพยาบาลได้ขนานนาม วันอันเป็นที่ระลึกสำคัญนี้ว่า "วันมหิดล" เพื่อเป็นการถวายสักการะ และแสดงกตัญญูกตเวทีต่อ  พระองค์ท่าน เพราะพระราชกรณียกิจที่ได้รทรงบำเพ็ญแก่วงการแพทย์ และการสาธารณสุข  ของประเทศไทยตลอดระยะเวลา 12 ปีนั้นได้เสริมสร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่โรงเรียนแพทย์  และพัฒนาการเรียนการสอนตลอดจนการผลิตแพทย์ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพอันเป็นการ  วางรากฐานแก่การแพทย์ และการสาธารณสุขให้เจริญพัฒนาก้าวหน้าทัดเทียมอารยะประเทศในกาลต่อมา ประวัติวันมหิดล           ในปี พ.ศ. 2493, 21 ปี หลังจากที่สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ได้เสด็จสวรรคต คณะแพทยศาสต์ได้ร่วมใจกันส้างพระราชานุสาวรีย์ขึ้น ณ ใจกลางโรงพยาบาลศิริราช โดยมอบให้กรมศิลปากรเป็นผู้ดำเนินการสร้าง มีศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี เป็

เลือกห้อยพระเครื่องประจำวันเกิด

รูปภาพ
 ตามความเชื่อของผู้เฒ่าผู้แก่มาแต่โบร่ำโบราณว่าไว้ว่า การแขวนพระห้อยพระประจำวันเกิดนั้น จะเกิดความเป็นสิริมงคลในการดำเนินชีวิตและส่งเสริมดวงชะตา  คำว่า "พระประจำวันเกิด" นั้น ความจริงสามารถแยกได้หลายประเภท เช่น ตามจักรราศีก็มักเลือกพระตามพระประจำวัดเกิดตามปางต่างๆ อาทิ คนเกิดวันจันทร์ ให้แขวนพระปางห้ามญาติ หรือคนเกิดวันอังคารให้แขวนพระปางไสยาสน์ เป็นต้น  นอกเหนือจากนี้ ยังมีอีกหลายเงื่อนไขที่ถูกหยิบยกมากำหนดการถูกห้อยพระให้โฉลกกับผู้เกิดวันต่างๆ รายละเอียดคลิกที่นี่    ที่มาภาพและเนื้อหา เผยแพร่โดย

P!nk - Just Give Me A Reason ft. Nate Ruess

รูปภาพ

ฉลาดเลือก!!! ซื้อตั๋ว เครื่องบินอย่างไรให้ ได้ราคาถูกและคุ้มค่าที่ สุดจริงๆ

รูปภาพ
                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                             ที่มา jetradar    เผยแพร่โดย laortravel

แซนโฎนตา หรือ วันสารทเขมร

รูปภาพ
..ประเพณีแซนโฎนตา หรือ วันสารทเขมร.. ประเพณีแซนโฎนตา เป็นประเพณีหนึ่งที่มีความสำคัญ และปฏิบัติสืบทอดติดต่อกันมายาวนาน นับเป็นพัน ๆ ปีของชาวเขมร ที่แสดงออกถึงความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ สะท้อนให้เห็นความรัก ความผูกพัน ความกตัญญูรู้คุณ ของสมาชิกในครอบครัวเครือญาติ และชุมชน โดยจะประกอบพิธีกรรม ตรงกับวันแรม 14 ค่ำ เดือน 10 ของทุกปี ซึ่งเมื่อถึงวันนั้นลูก หลาน ญาติ พี่น้องที่ไปประกอบอาชีพ หรือตั้งถิ่นฐานอยู่ที่อื่น ไม่ว่าจะใกล้ หรือไกลจะต้องเดินทางกลับมารวมญาติ เพื่อทำพิธีแซนโฎนตา เป็นประจำทุกปี แซน หมายถึง การเซ่น การเซ่นไหว้ การบวงสรวง โฎนตา หมายถึง การทำบุญให้ปู่ย่า ตายาย หรือ บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ประเพณีแซนโฎนตา จึงหมายถึง ประเพณีการเซ่นไหว้ผีบรรพบุรุษ ที่นับได้ว่าเป็นประเพณีสำคัญที่คนไทยเชื้อสายเขมร มีการสืบทอดกันมาเป็นระยะเวลานาน ขั้นตอนการประกอบพิธีกรรมแซนโฎนตา มีดังนี้ 1. การเตรียมอุปกรณ์เครื่องเซ่นไหว้ 2. การเซ่นไหว้ศาลปู่ตาประจำหมู่บ้าน 3. การเซ่นไหว้ศาลพระภูมิประจำบ้าน 4. การประกอบพิธีกรรมแซนโฏนตาที่บ้าน 5. การประกอบพิธีกรรมบายเบ็น 6. การประกอบพิธีกรรม

Bangkok from above

รูปภาพ

แอปใหม่มาแรง makeup plus

รูปภาพ
 ช่วงนี้บนโซเชียลอย่าง Facebok อาจจะเห็นเพื่อนๆหลายคน โพสภาพการแต่งหน้าที่สุดกวน หลายคนแอบสงสัยว่าแอพนี้คือแอพอะไร หรือ เขาแต่งหน้าเองจริงๆหรือเปล่า!! คำตอบคือ แอพ MakeupPlus  – The best makeup tool for your photos แอพแต่งหน้า สุดกวน จาก Xiamen Meitu ในจีน

เด็กไทยเรียนหนักแค่ไหน?

เด็กไทยเรียนหนักแค่ไหน? (ตอบ: หนักที่สุดในโลก*) หากพิจารณาข้อมูลของ UNESCO[1] แสดงจำนวนชั่วโมงเรียนต่อปีของนักเรียนในระดับอายุ 9 – 13 ปีในแต่ละประเทศ จะพบว่า เด็กไทยเรียนหนักเป็นอันดับ 2 ในระดับอายุ 9 ปี1,080 ชั่วโมงต่อปีเด็กไทยเรียนหนักเป็นอันดับ 1 ในระดับอายุ 10 ปี1,200 ชั่วโมงต่อปีเด็กไทยเรียนหนักเป็นอันดับ 1 ในระดับอายุ 11 ปี1,200 ชั่วโมงต่อปีเด็กไทยเรียนหนักเป็นอันดับ 5 ในระดับอายุ 12 ปี1,167 ชั่วโมงต่อปีเด็กไทยเรียนหนักเป็นอันดับ 8 ในระดับอายุ 13 ปี1,167 ชั่วโมงต่อปี ตัวเลขของประเทศอื่นๆ ที่น่าสนใจมีดังนี้ (เด็กอายุ 11 ปี) อันดับ 2 อินโดนีเซีย1,176 ชั่วโมงต่อปีอันดับ 3 ฟิลิปปินส์1,067 ชั่วโมงต่อปีอันดับ 4 อินเดีย1,051 ชั่วโมงต่อปีอันดับ 11 มาเลเซีย964 ชั่วโมงต่อปีอันดับ 19 เยอรมนี862 ชั่วโมงต่อปีอันดับ 28 จีน771 ชั่วโมงต่อปีอันดับ 30 ญี่ปุ่น761 ชั่วโมงต่อปี ตัวเลขเหล่านี้นับเฉพาะ “เวลาเรียนในโรงเรียน” เท่านั้น ยังไม่รวมเวลาเรียนพิเศษนอกเวลา เป็นที่น่าสังเกตว่าเวลาที่ใช้ในการศึกษาภาคบังคับของเด็กไทยไม่ได้เปลี่ยนไปมากจากชั้นประถมไปสู่มัธยม ในขณะที่บางประเทศให้เวลากับชั้นมัธยม